หน้าแรก


ผศ.ดร. ไพฑูรย์ รักเหลือ (Asst. Prof. Dr. Paitoon Rakluea)


ประวัติอาจารย์ประจำ
ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม   คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Download CV 

 
https://drive.google.com/file/d/0B2s1gXv46U1cMGxDSDBpM2w0bXc/view?usp=sharing

1. ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์  รักเหลือ

    ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)

Asst. Prof. Dr. Paitoon Rakluea

2. ตําแหน่งปัจจุบัน

 

-                   ผู้ช่วยศาสตราจารย์   สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม

-                   รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายบริหาร ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม

3. หน่วยงานและสถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail)

 

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม   คณะวิศวกรรมศาสตร์

39  หมู่ที่ 1 ถนนรังสิต-นครนายก 

ตำบลคลองหก  อำเภอธัญบุรี  จังหวัดปทุมธานี   12110

โทรศัพท์  0-2549-4620                   โทรสาร  0-2549-4622

E-mail :  paitoon_r@rmutt.ac.th, paitoon.r@en.rmutt.ac.th

4. ประวัติการศึกษา

คุณวุฒิ

ปี พ.ศ. ที่จบ

ชื่อสถานศึกษาและประเทศ

อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส..)

สาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์

2543

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ..)

สาขาวิศวกรรมสารสนเทศ

2546

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วศ..)

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

2552

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ (แตกต่างจากวุฒิการศึกษา) ระบุสาขาวิชาการ

 

-                   วิศวกรรมโทรคมนาคม

-                   วิศวกรรมสื่อสารโครงข่าย

-                   เทคโนโลยีสารสนเทศ


6.  ประสบการณ์การทำงาน

      6.1  การสอน

 

-                   อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี  ตั้งแต่ปี พ..2546 – ปัจจุบัน

-                   อาจารย์พิเศษ  สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ตั้งแต่ปี พ.. 2556 – ปัจจุบัน

      6.2  การวิจัย

 

6.2.1 โครงการวิจัย

         1. การพัฒนาวงจรกรองความถี่ผ่านหลายความถี่ผ่านหลายฟังก์ชั่นโหมดแรงดันโดยใช้โอทีเอ

             (Development Voltage-Mode Multifunction Filter using OTA)

             หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ

             ผู้ร่วมวิจัย                   : นายวิโรจน์ พิราจเนนชัย

             แหล่งทุน                    : เงินงบประมาณประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

        2.  การวิจัยและพัฒนาสายอากาศแบบฟิลม์บางที่มีนอตช์ 3 นอตช์สำหรับระบบการสื่อสารอัลตร้าไวด์

             แบนด์โดยใช้การป้อนสัญญาณแบบระนาบร่วม

             (Research and Development of Triple Band-Notched Thin-Film Antenna for Ultra-Wideband

              System by using CPW fed)

             หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ

             ผู้ร่วมวิจัย                   : ดร.มาลียา  ตั้งจิตเจษฎา

             แหล่งทุน                    : เงินงบประมาณประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

       3.   การพัฒนาอิคลอไลเซอร์โดยใช้โพลิโนเมียลแบบเบรินสไตน์

             (Development of Equalizer using Bernstein Polynomials)

             หัวหน้าโครงการวิจัย : นายวิโรจน์  พิราจเนนชัย

             ผู้ร่วมวิจัย                   : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ

             แหล่งทุน                    : เงินงบประมาณประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

       4.  การวิจัยและพัฒนาสายาอากาศฟิลม์บางอาร์เรย์แบบช่องเปิดสำหรับการสื่อสารความถี่กว้างยุคใหม่

            (Research and Development of Thin-Film Slot Array Antenna for Modern Wideband

             Communications)

             หัวหน้าโครงการวิจัย : นายชวลิต รักเหลือ

             ผู้ร่วมวิจัย                   : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ

             แหล่งทุน                    : เงินงบประมาณประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


 5. การวิจัยสายอากาศติดผนังสำหรับรับสัญญาณทีวีในประเทศไทย

(Wall  Antenna  for  Receiving  Television Signals  in  Thailand)

หัวหน้าโครงการวิจัย : รองศาสตราจารย์อรลาภ  แสงอรุณ

               ผู้ร่วมวิจัย     : รองศาสตราจารย์นภพินทุ์  อนันตรศิริชัย

                              : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ 

 แหล่งทุน : เงินรายได้ประจำปี 2557 คณะวิศวกรรมศาสตร์

                 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6.             การวิจัยสายอากาสช่องเปิดหลายความถี่เรโซแนนซ์ในระบบสื่อสารไร้สาย

(Multi-Resonant Frequency of Slot Antenna for Wireless Communication systems)

หัวหน้าโครงการวิจัย : รองศาสตราจารย์อรลาภ  แสงอรุณ

               ผู้ร่วมวิจัย      : รองศาสตราจารย์นภพินทุ์  อนันตรศิริชัย

       : ดร. ไพฑูรย์ รักเหลือ 

แหล่งทุน : เงินรายได้ประจำปี 2555 คณะวิศวกรรมศาสตร์

                สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7.             การวิจัยและพัฒนาสายอากาศสำหรับโครงข่ายไวไฟเมช

(Research  and  Development Antenna for WiFi Mesh Network)

หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา  นาคะสุวรรณ

               ผู้ร่วมวิจัย  : นายไพฑูรย์ รักเหลือ 

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2552

8.              การวิจัยและพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายไร้สายสำหรับการจัดการความรู้

            (Research  and  Development  of  Wireless  LANs  Security  for Knowledge Management)

                หัวหน้าโครงการวิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา  นาคะสุวรรณ

                               ผู้ร่วมวิจัย  : นายไพฑูรย์ รักเหลือ 

        : นายเอกรัฐ หล่อพิเชียร

                แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551

      6.3  ผลงานทางวิชาการ

 

6.3.1 ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ (ย้อนหลัง 5 ปี)

        ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการระดับชาติ

1. นิสิต  ภูครองตา   ไพฑูรย์  รักเหลือ  อิฐอารัญ  ปิติมล, “การเพิ่มประสิทธิภาพของค่าปริมาณงานใน

    ระบบแลนไร้สายโดยการประยุกต์ใช้วิธีการรวมกลุ่มลิงค์,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4,

    กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน 2555

2. พรเทพ ทองย้อย   ธนะพงศ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา  ไพฑูรย์  รักเหลือ  วิโรจน์  พิราจเนนชัย, “สายอากาศ

    ไมโครสตริปแบบไมล่าฟิลม์ช่องสี่เหลี่ยมมุมโค้งสำหรับระบบอัลตร้าไวด์แบนด์,” การประชุมวิชาการ

    ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน 2555

3. อนุชา มาละใจวันเฉลิม ชั้นวัฒนพงศ์  ไพฑูรย์  รักเหลือ, “สายอากาศไมโครสตริปแถวลำดับแบบช่อง

   เปิดมุมฉากสำหรับความถี่แถบกว้าง,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22

   มิถุนายน 2555

4. กิตติศักดิ์  ทองดา  วิโรจน์ พิราจเนนชัย  ไพฑูรย์  รักเหลือ, “สายอากาศช่องเปิดแบบมุมฉากที่มีการแผ่

     พลังงานสองทิศทาง,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน

     2555

5. เกรียงศักดิ์  เหลือประเสริฐ  วันเฉลิม ชั้นวัฒนพงศ์  ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การออกแบบหุ่นยนต์แมงมุมเพื่อ

    การสำรวจและสอดแนม,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, กรุงเทพมหานคร, 21-22 มิถุนายน

    2555

6. นิสิต ภูครองตา  วิโรจน์  พิราจเนนชัย  ไพฑูรย์  รักเหลือ  อิฐอารัญ  ปิติพล, “การประยุกต์ใช้วิธีการ

    รวมกลุ่มลิงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของค่าปริมาณงานในระบบแลนไร้สายการประชุมวิชาการทาง

    วิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 36 EECON-35, นครนายก, 12-14 ธันวาคม 2555

7. ยศธน เหลือภากร ไพฑูรย์  รักเหลือและฉัตรชัย ศุภพิทักษ์สกุล,“การศึกษาโครงข่ายประสาทแบบ

   ป้อนไปหน้าสำหรับการจำแนกโรคระบบทางเดินหายใจ”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้ง

   ที่ 36 (EECON-36), กาญจนบุรี, 11 – 13.. 2556

8. เศวต บุญผ่องใส และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การจำลองและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของ LTE-Advanced

   ด้วย โปรแกรม Advanced Design System (ADS),” การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้า

   มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6 (EENET 2014), กระบี่, 26-28 มีนาคม 2557

9. ไชยวัฒน์ พูลเงิน และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การวิเคราะห์ขนาดเวกเตอร์ความผิดพลาดเมื่อมีสัญญาณ

     รบกวนในระบบการส่งของไวแมกซ์แบบประจำที่,” การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้า

     มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6 (EENET 2014), กระบี่, 26-28 มีนาคม 2557,

10. บุญฤทธิ์ คุ้มเขต และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “สายอากาศดิจิตอลทีวีรูปแบบล๊อกพิริออดิค,” การประชุม

     วิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 7 (ECTI-CARD 2015), ตรัง, 8-10 กรกฏาคม 2558

11. PEUV POCH และ ไพฑูรย์ รักเหลือ,สายอากาศ MIMO แบบกะทัดรัด สำหรับระบบUWB,”

     การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 7 (ECTI-CARD 2015), ตรัง, 8-10 กรกฏาคม

     2558

12. ธนะพงศ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา และ ไพฑูรย์ รักเหลือ,เครื่องบรรจุภัณฑ์กึ่งอัตโนมัติ,” การประชุมวิชาการ

     งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 7 (ECTI-CARD 2015), ตรัง, 8-10 กรกฏาคม 2558

13. Peuv Poch และ ไพฑูรย์  รักเหลือ, “ สายอากาศขนาดกะทัดรัดแบบวงแหวนสองพอร์ตสำหรับ

     ประยุกต์ใช้กับระบบ MIMO-UWB” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 38 EECON-38, 

    อยุธยา, 18-20 พฤศจิกายน 2558

14. ขวัญหทัย โพธิ์แจ้ง และ ไพฑูรย์  รักเหลือ, “ การออกแบบสายอากาศล๊อคพิริออดิกสำหรับระบบ  

      WLAN/HSPA/LTE/UWB,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD

      2016), หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559

15. ชวลิต รักเหลือ และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “สายอากาศไมโครสตริปเฟสอาร์เรย์แบบปรับเลือกลำคลื่นสำหรับ

     ระบบสื่อสารไร้สาย,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016),

     หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559

16. ธนะพงศ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “ระบบมอนิเตอรสถานะทีจอดรถยนต์โดยใช้อาดูโน/

     แอนดรอยด์,” การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016),

     หัวหิน, 27-29 กรกฏาคม 2559

17. นิสิต ภูครองตา และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การรวมกลุ่มลิ้งค์ของวายฟาย สำหรับ IEEE 802.11n,”              

      การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29

      กรกฏาคม 2559

18. ทินวัฒน์ จังจริง และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “การพัฒนาฐานข้อมูลดาวเทียมโดยใช้โปรแกรม LabVIEW,”

     การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29

     กรกฏาคม 2559

19. บุญฤทธิ์ คุ้มเขต และ ไพฑูรย์ รักเหลือ, “ระบบรักษาความปลอดภัยเครือข่ายไร้สายโดยใช้ฮันนี่พ๊อต,”

     การประชุมวิชาการงานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 8 (ECTI-CARD 2016), หัวหิน, 27-29

     กรกฏาคม 2559

     ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ

1. Maleeya Tangitjetsada, Paitoon Rakluea, and C. Benjangprasert, “Study of Compact Thin-Film UWB

   Antenna with Dual Band-Notched Characteristics”,  Progress In Electromagnetics Research Symposium  

   2012 ( PIERS2012 ), Kuala Lumpur, Malaysia, 27-30 Mar 2012

2.  P. Thongyoy, P. Rakluea ,and T. Nopavong na Ayudathaya, “Compact Thin-Film UWB  Antenna with 

     Round Conner Rectangular Slot and Partial Circular Patch,” ECTI-CON 2012, Phetchaburi, Thailand,

     16-18 May 2012

3. A. Malajai, W. Chanwanttanapong, and P. Rakluea, “A Novel Thin-Film Wideband Right Angle Slot 

    Antenna,” ECTI-CON 2012,Phetchaburi, Thailand, 16-18 May 2012

4. K. Thongda, V. Pirajnanchai, and P. Rakluea, “A Novel Thin-Film Slot Antenna for Wireless Sensor  

    Network IEEE802.11 b/g,” Thailand-Japan Microwave 2012(TJMW2012), Bangkok, Thailand, 7-10

    Aug 2012

5. H. Kriangsak, W. Norakamon, R. Paitoon, and P. Virote, “Design of 3-Way Crossover Network by

    using Bernstein Polynomial,” International Science, SocialScience, Engineering and Energy Conference

    (I-SEEC2013), Kanchanaburi, Thailand, 18-20 Dec, 2013

6. Y. Luangphakorn, P.Rakluea, and C. Supapitiksakul, “A Training Algorithm of Feed-Forward Neural

    Networks for Classification of Respiratory Tract Diseases,” International Science, Social Science, 

    Engineering and Energy Conference (I-SEEC2013), Kanchanaburi, Thailand, 18-20 Dec 2013

7. S. Boonpongsai, and P. Rakluea, “LTE-Advanced Performance Analysis by Simulation with    

    Advanced Design System (ADS),” International Science, SocialScience, Engineering and Energy 

    Conference (I-SEEC2013), Kanchanaburi,Thailand, 18-20 Dec 2013

8. H. Kriangsak, W. Norakamon, R. Paitoon, and P. Virote,    “Design of 4-Way Crossover Network by 

      using Bernstein Polynomial,”  2014 International Electrical Engineering Congress (iEECON2014), 

      Pattaya, Thailand, 19-21 Mar 2014

9. Tuanjai Archevapanich, Mayuree Lertwatechakul, Paitoon Rakluea, Noppin Anantrasirichai, and 

     Vanvisa Chutchavong, “Ultra-Wideband Slot Antenna on Flexible Substrate for WLAN/WiMAX/UWB

     Applications,” The 14th Asia Simulation Conference & The 33rd JSST Annual Conference:

     International Conference on Simulation Technology, October 26 – 31, 2014, Kitakyushu, Japan

10. Tuanjai Archevapanich, Paitoon Rakluea, Noppin Anantrasirichai,Boonchana Purahong, and Vanvisa

     Chutchavong, “Rectangular Slot Antenna with Asymmetrical Conductor Strip for Bandwidth

     Enhancement Coverage UWB Standard,” The 14th Asia Simulation Conference & The 33rd JSST 

     Annual Conference: International Conference on Simulation Technology, October 26 – 31, 2014,

     Kitakyushu, Japan

11. R. Paitoon, R. Chawalit, P. Poch, S. Ornlarp, and A. Noppin, “Study on CPW-Antenna for Wideband

    Coverage Mobile 4G/WLAN/WiMAX/UWB,” The 7th International Conference on International

    Technology and Electrical Engineering (ICITEE2015), October 29-30, 2015, Chiangmai, Thailand

12. P. Poch, and R. Paitoon, “Development of Circular Ring Antenna for Mobile Broadband System,” The

     7th International Conference on International Technology and Electrical Engineering (ICITEE2015),

     October 29-30, 2015,  Chiangmai, Thailand

13. Teerachai  Ranadkaew and Paitoon Rakluea, “A Compact Moon Shaped Super-Wideband Thin-Film  

       Antenna,” ECTI-CON 2016,Chiangmai, Thailand, 28 June -1 July 2016

14. Virote Pirajnanchai and Paitoon Rakluea, “Design of Equalizer based on Bernstein Polynomials under 

      Echo Pairs,” ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016

15. Paitoon Rakluea and Maleeya Tangjitjetsada, “Triple Band-Notched Thin Film Ultra-Wideband 

     Antenna fed by CPW,” ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016

16. Ukrit Kornkanok, Paitoon Rakluea, Virote Pirajnanchai, and Supachai Klungtong, “Electronically 

     Tunable Multiple-Input Single-Output Voltage-Mode Multifunction Filter Using OTA and DURC,”  

     ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016

17. Chawalit Rakluea and Paitoon Rakluea, “A Wideband Thin Film Slot Array Antenna Using Mylar 

      Polyester,” ITC-CSCC 2016, Okinawa, Japan, 10 – 13 July, 2016

    วารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ

1. S. Klungtong, V.Pirajnanchai, P. Rakluea, and K. Janchitrapongvej, “Voltage-Mode Universal  

    Biquadratic Filters Using OTA-URC”, International Journal of Computer and Electrical Engineering

    (IJCEE), Vol. 4, No. 4, August 2012

2. M. Tangjitjetsada, P. Rakluea, N. Anantrasirichai, C. Benjangkaprasert, and T. Wakabayashi, 

  “CPW-fed Compact Thin-Film UWB Antenna with Dual Band-Notched Characteristics,” IEEJ

   Transactions on Electrical and Electronic Engineering 2014; p.421-426.

3. A. Pomsathit, P. Rakluea, N. Anantrasirichai, C. Benjangkaprasert, and T.Wakabayashi, “The

   Design of Linear and Circular Polarization for Dual Band Microstrip Slot Antenna,” IEEJ

   Transactions on Electrical and Electronic Engineering 2014; p.105-112.

6.3.2 เอกสารประกอบการสอนวิชา

       วิชาคณิตศาสตร์วิศวกรรมประยุกต์ ปี 2557 แต่งโดย ดร.ไพฑูรย์ รักเหลือ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

      6.4  ความรู้ความสามารถ

            6.4.1 งานบริการวิชาการ

 

1.             วิทยากรและคณะกรรมการโครงการค่ายความรู้วิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระหว่างปี พ..2551-2554

2.             วิทยากรและคณะกรรมการโครงการพัฒนาพื้นฐานการสร้างหุ่นยนต์ระหว่างปี ..2551-2553

3.             วิทยากรและคณะกรรมการโครงการออกแบบสายอากาศสำหรับโครงข่ายไวไฟเมชปี ..2553

4.             วิทยากรและคณะกรรมการโครงการต้นกล้าอาชีพปี ..2553

5.             คณะกรรมการจัดงานการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 29 EECON-29 ปี พ.. 2549

6.             คณะกรรมการจัดงาน การประชุมวิชาการทางออปติกส์และการประยุกต์ใช้งานแห่งชาติ ครั้งที่ 6 (The Six National Conference on Optics and Applications: NCOA-6) ปี 2554

7.             ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 29 ปี พ.. 2549 และครั้งที่ 34-38 ปี พ.. 2554-2558

8.             คณะกรรมการหลักสูตรปริญญาโท ปี พ.. 2554 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

9.             คณะกรรมการจัดงาน การประชุมวิชาการงานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 4  ECTI-CARD2012 ปี 2555

10.      คณะกรรมการดำเนินการจัดทำร่างโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กับ มหาวิทยาลัยโตไก ประเทศญี่ปุ่น

11.      คณะกรรมการดำเนินการจัดทำร่างโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)

12.      คณะอนุกรรมการโครงการพัฒนากำลังคนด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลและสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน โดยทำความร่วมมือกับ สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา   สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทย  สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย  สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย  สมาคมสมองกลฝังตัว  และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

13.      เป็นคณะกรรมการดำเนินการจัดทำร่างโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม มทร.ธัญบุรี กับ บริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี (ไทยแลนด์) จำกัด

14.      คณะอนุกรรมการเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรวิจัยภาคอุดมศึกษาไปทำงานในภาคอุตสาหกรรมด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

 

15.      ผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษาของภาควิชาฯ ประจำปีการศึกษา 2555-ปัจจุบัน

16.      เข้าร่วมอบรมเรื่อง โครงการพัฒนาบุคลากรทางวิศวกรรมศาสตร์ CDIO จาก Temasek Foundation ร่วมกับ Singapore Polytechnic International (SPI)

17.      วิทยากรโครงการปัจฉิมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์

18.      คณะกรรมการอนุกรรมการดำเนินงานขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ด้านรวบรวมข้อมูลและกำหนดกลยุทธ์

19.      ผู้เชียวชาญในการประเมินโครงการวิจัยเริ่มใหม่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงกลาโหม

20.      คณะกรรมการงานวิเทศสัมพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

21.      วิทยากรโครงการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารการเปลี่ยนแปลงระดับกลาง นบร. รุ่นที่ 20 และ 21ให้กับผู้บริหารระดับกลางของ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

22.      คณะกรรมการกำหนดกรอบงานการปรับปรุงแผนแม่บทระบบสารสนเทศ (ICT) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

23.      คณะกรรมการสอบและประเมินผลวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

24.      คณะกรรมการสอบและประเมินผลวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

25.      วิทยากร โครงการสัมมนา การประยุกต์และการออกแบบระบบใช้งานข้อมูลคอมพิวเตอร์”  คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

26.      ผู้ทรงคุณวุฒิ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมท้องถิ่น (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางและตะวันออก) จัดโดยสำนักงานส่งเสริมวิสาหะกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)

27.      อาจารย์ประจำหลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

28.      ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความทางวิชาการ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

29.      วิทยากร หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานด้านไฟฟ้าสื่อสารระดับต้น   โรงเรียนการสื่อสารกรมการปกครอง  วิทยาลัยการปกครอง  อำเภอธัญบุรี  จังหวัดปทุมธานี ปี 2558

30.      ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 39 ปี พ.. 2559


       6.4.2 รางวัล / ประกาศนียบัตร/ เกียรติบัตร / สัมมนาดูงานต่างประเทศ

1.             ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้น จัตุรถากรณ์ช้างเผือก ประจำปี 2554

2.             รางวัลข้าราชการดีเด่นประจำปี 2553 กลุ่ม 2 ระดับ 1-5 / พนักงานมหาวิทยาลัย / พนักงานราชการ ลำดับที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

3.             ประกาศนียบัตร Poster Award ผลงานเรื่อง “A Dual Band Microstrip-Fed Right Angle Slot  Antenna”  การประชุมวิชาการ JSST 2009, JAPAN, October 7-9, 2009

4.             ประกาศนียบัตรสำหรับการนำเสนอผลงานวิชาการภาคบรรยาย   การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาครั้งที่ 2 เรื่อง บทบาทของมหาวิทยาลัยต่อการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติจริงจัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 23-29 สิงหาคม 2552 จังหวัดเชียงใหม่  ประเทศไทย

5.             Certificate of Training เรื่อง “Intensive Short Course Training on Satellite Engineering” จัดโดย Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (GISTDA) of Thailand ระหว่างวันที่ 16 – 27 มิถุนายน 2003, กรุงเทพ, ประเทศไทย

6.             Certificate of Training เรื่อง “Quick Start to ADS” จัดโดย บริษัท Dream Catcher ระหว่างวันที่ 29 มี.– 30 มี.. 2010, ปีนัง, ประเทศมาเลเซีย

7.             Certificate of Training เรื่อง “RF Circuit Design – Active Circuits” จัดโดย บริษัท Dream Catcher ระหว่างวันที่ 31 มี.– 2 เม.. 2010, ปีนัง, ประเทศมาเลเซีย

8.             Certificate of Training เรื่อง “Essential of DSP – Concept to implementation using MATLAB and Altera DE2” จัดโดย บริษัท Dream Catcher ระหว่างวันที่ 31 ..– 3 มิ.. 2011, ปีนัง, ประเทศมาเลเซีย

9.             เกียรติบัตรการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ส่งเสริมการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเอกชนนอกระบบปี 2553” รุ่นที่ 2 ของสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ระหว่างวันที่ 21 – 22 เมษายน 2553 ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

10.      เข้าร่วมสัมมนาและศึกษาดูงานด้านวิศวกรรม NIWEEK 2007 ณ เมืองออสติน ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 5 – 12 เมษายน 2550

11.      เข้าร่วมสัมมนาและศึกษาดูงานด้านวิศวกรรม NIWEEK 2010 ณ เมืองออสติน ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 2 – 8สิงหาคม2553

12.      เข้าร่วมสัมมนาและศึกษาดูงานด้านวิศวกรรมDesignCon 2012 และ Photonic West 2012 ณ เมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 25 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ 2555

13.      อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาทีม TELEBOT # 12 เข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโครงการแข่งขัน ซีอาร์ยู โรบอทเกมส์ ระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 29-30 สิงหาคม 2555 โดยได้ผลงานลำดับที่ 4

 

14.      เข้าร่วมอบรมและศึกษาดูงาน “Invitation letter to Agilent Singapore for Advance Technology and Testing Equipment” ณ บริษัท Agilent Technology ประเทศสิงค์โปร์ ระหว่างวันที่           29 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2555

15.      บทความดีเด่น สายอากาศไมโครสตริปแบบไมล่าฟิลม์ช่องสี่เหลี่ยมมุมโค้งสำหรับระบบ     อัลตร้าไวด์แบนด์,” การประชุมวิชาการ ECTI-CARD ครั้งที่ 4, 21-22 มิถุนายน 2555

 

      6.5  รายวิชาที่ทำการสอน

 

6.5.1 ระดับปริญญาตรี

          1. วิศวกรรมไมโครเวฟ (Microwave Engineering)

          2. ปฏิบัติการไมโครเวฟ (Microwave Laboratory)

          3. สัญญาณและระบบ (Signal and Systems)

          4. โครงข่ายสื่อสารไร้สาย (Wireless Communication Network)

6.5.2 ระดับปริญญาโท

         1. การออกแบบสายอากาศสมัยใหม่ (Modern Antenna Design)

         2. การออกแบบวงจรไมโครเวฟขั้นสูง (Advanced Microwave Circuit Design)

         3. โครงข่ายการสื่อสารขั้นสูง (Advanced Communication Networks)

         4. ระบบการสื่อสารไร้สายขั้นสูง (Advanced Wireless Communication System)

7.  ผลงานการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่สำเร็จการศึกษา

 

1.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศไมโครสตริปรูปวงกลมแบบไมโมสำหรับระบบอัลตราไวด์แบนด์

   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) MIMO CIRCULAR SHAPED MICROSTRIP ANTENNA FOR

                                                    ULTRA-WIDEBAND SYSTEMS

     ชื่อนักศึกษา   Mr.Poch Peuv                      ปีที่สำเร็จ  2558

 2.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) วงจรกรองความถี่ผ่านทุกแถบความถี่ของโหมดกระแสโดยใช้ซีดีทีเอและยูนิ

                                               ฟอร์มดิสทริบิวด์อาร์ซี

   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ)Current Mode of All Pass Filter Using CDTA and Uniform Distributed RC

   ชื่อนักศึกษา นางสาวอัตติยา ขวัญพราย        ปีที่สำเร็จ 2557

                3.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) การศึกษาแบบรูปการแผ่พลังงานของสายอากาศช่องเปิดแถวลำดับรูปตัวแอล

                                                               แบบฟิลม์บาง

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Study on radiation pattern of right angle thin-film slot array antenna

                   ชื่อนักศึกษานายกิตติศักดิ์ ทองดา                  ปีที่สำเร็จ 2555

                 4.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศฟิล์มบางขนาดกะทัดรัดรูปคล้ายอักษรซีสำหรับเทคโนโลยีบรอด

                                                                 แบนด์ไร้สาย

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Compact thin-film antenna with C-Shape for BWA technologies

                   ชื่อนักศึกษานายพรเทพ ทองย้อย                    ปีที่สำเร็จ 2555

                 5.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) การออกแบบสายอากาศแถวลำดับแบบช่องเปิดมุมฉากที่มีแถบกว้าง

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Design of broadband right-angle slot array antenna

                   ชื่อนักศึกษานายอนุชา มาละใจ                        ปีที่สำเร็จ 2555

                 6.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) การศึกษาการรวมกลุ่มลิงค์ของวายฟาย สำหรับ IEEE 802.11n

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Study on the aggregation of Wi-Fi Links for IEEE 802.11n

                   ชื่อนักศึกษานายนิสิต ภูครองตา                       ปีที่สำเร็จ 2555

                 7.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศช่องเปิดแบบมุมฉากสำหรับเครือข่ายไร้สายแบบเมช

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Right Angel Slot Antenna for Wireless Mesh Network

                   ชื่อนักศึกษานายทินวัฒน์ จังจริง                       ปีที่สำเร็จ 2554

                 8.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศไมโครสตริปแบบไมล่าฟิล์มสำหรับระบบอัลตร้าไวด์แบนด์

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Mylar Film Microstrip Antenna for UWB Systems

                   ชื่อนักศึกษานายบุญฤทธิ์ คุ้มเขต                       ปีที่สำเร็จ 2554

                 9.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศแพทช์ย่านความถี่แถบคู่ที่ป้อนด้วยสายนำสัญญาณแบบระนาบร่วม

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) CPW- Fed Patch Antenna for Dual Band

                   ชื่อนักศึกษานายสุภณ พลสิงห์                           ปีที่สำเร็จ 2554

                 10.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) สายอากาศหลายความถี่แบบโมโนโพลรูปหกเหลี่ยมสำหรับระบบ                             

                                                                  Wi-Fi/WiMAX

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Multiband Hexagon Shaped Monopole Antenna for Wi-Fi/ WiMAX

                                                                    Systems

                   ชื่อนักศึกษานายทิวากร สมวรรณ                       ปีที่สำเร็จ 2554

                 11.ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาไทย) วงจรกรองความถี่หลายหน้าที่โหมดแรงดันโดยใช้วงจรขยายความนำถ่าย

                                                                   โอนและยูนิฟอร์มดิสทริบิวด์อาร์ซี

                   ชื่อวิทยานิพนธ์ (ภาษาอังกฤษ) Voltage-Mode Universal Biquadratic Filter using Operational

                                                                     Transconductance Amplifier and Uniform Distributed RC

                   ชื่อนักศึกษานายศุภชัย คลังทอง                          ปีที่สำเร็จ 2554

 

 

                                                                                                                บันทึกวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2559

   (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์  รักเหลือ)